Anothai Klakankhai
Lecturer, Industrial Engineering
ที่อยู่: สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
เลขที 19 หมู่ 2 ตำบลแม่กา อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 56000
โทรศัพท์: 054-466666 ต่อ 3377 โทรสาร 054-466662
มือถือ : 08-9788-4889
Room: EN 3304
E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it., This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
Research Interests: |
การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Integrated Manufacturing) |
|
การจำลองระบบการผลิตด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Simulation) |
|
การวางแผนและควบคุมการผลิต (Production Planning and Control) |
|
การจัดตารางการผลิต (Scheduling) |
|
อัลกอลิทึม (Algorithms) |
|
การออกแบบวางผังโรงงาน (Industrial Plant Design) |
|
การเพิ่มอัตราผลผลิต (Productivity) |
|
การอนุรักษ์พลังงาน (Energy Conservation) |
|
การควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory Control) |
|
การจัดการทรัพยากรและการขนส่ง (Logistics and Supply Chain Management) |
|
ระบบอัจฉริยะ (Intelligent Systems) |
|
แมคคาทรอนิกส์ หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ (Mechatronics, Robotics and Automation Systems) |
รายวิชาที่สอน
รหัสวิชา 264201 วัสดุวิศวกรรม (Engineering Materials)
รหัสวิชา 264423 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Plant Design)
รหัสวิชา 264431 ปฏิบัติการวิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering Laboratory)
รหัสวิชา 275200 อาสาพัฒนาชุมชนสำหรับวิศวกร (Community Development Voluntary for Engineers)
การศึกษา
พ.ศ. 2549 |
ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมระบบการผลิตและอัตโนมัติ |
|
M.Eng. (Manufacturing Systems Engineering and Automation), Phitsanulok, Thailand, 2006. Naresuan University, |
พ.ศ. 2544 |
ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
|
B.Eng. (Industrial Engineering), Naresuan University, Phitsanulok, Thailand, 2001. |
พ.ศ. 2539 |
มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม |
|
High School 1-6, Phitsanulokpittayakom School, Phitsanulok, Thailand, 1995. |
ประวัติการทำงาน
พ.ศ.2553-ปัจจุบัน |
อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา |
พ.ศ. 2558 |
ผู้ช่วยผู้เชี่ยวชาญประจำโครงการประหยัดพลังงานสำหรับโรงงานขนาดเล็ก (Energy Saving for Small Enterprise) ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบผลิตสีเขียว |
|
ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชนร่วมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และมหาวิทยาลัยนเรศวร รับผิดชอบโรงงาน จำนวน 5 แห่ง คือ |
|
1) ห้างหุ้นส่วนจำกัด น้ำแข็งศิริกรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย |
|
2) ห้างหุ้นส่วนจำกัด เกษมชัย (1994) อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย |
|
3) บริษัท เทิง 2006 จำกัด จังหวัดเชียงราย |
|
4) ห้างหุ้นส่วนจำกัด น้ำแข็งเชียงคำ อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา |
|
5) ห้างหุ้นส่วนจำกัด น้ำแข็งเกรียงชัย อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พ.ศ. 2553-2556 |
หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา |
พ.ศ. 2552-2553 |
อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร แม่สอด |
พ.ศ. 2551-2553 |
กรรมการอำนวยการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมถ์ (วสท.) สาขาภาคเหนือ 2 ประจำปี พ.ศ.2551-2553 |
พ.ศ. 2550-2552 |
เจ้าหน้าที่บริหารโครงการ สำนักงานโครงการ IRPUS (สาขา 2) ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) |
พ.ศ.2551-2552 |
ผู้ช่วยผู้เชี่ยวชาญประจำโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมโดยโรงงานควบคุม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน |
|
ร่วมดำเนินงานให้กับโรงงานควบคุม 3 แห่ง คือ |
|
1) บริษัท สีมาธุรกิจ จำกัด อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ |
|
2) บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จำกัด (มหาชน) โรงงานตาคลี อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ |
|
3) บริษัท ฮิตาชิบางกอกเคเบิ้ล จำกัด อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี |
พ.ศ. 2550-2551 |
วิศวกรประจำโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมโดยโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน |
|
ร่วมดำเนินงานให้กับโรงงานอุตสาหกรรม 5 แห่ง คือ |
|
1) ห้างหุ้นส่วนจำกัด น้ำแข็งศิริกรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย |
|
2) ห้างหุ้นส่วนจำกัด เกษมชัย (1994) อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย |
|
3) ห้างหุ้นส่วนจำกัด น้ำแข็งเกรียงชัย อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
|
4) ห้างหุ้นส่วนจำกัด น้ำแข็งเชียงคำ อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา |
|
5) ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล โรงสีไฟสิงหวัฒน์ จังหวัดพิษณุโลก |
พ.ศ.2545-2546 |
ผู้ช่วยที่ปรึกษาโครงการชุบชีวิตธุรกิจไทย (Invigorating Thai Business : ITB) สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ โดยร่วมงานให้กับ บริษัท เอส.เค.โอ.เอ. เซ็นเตอร์ จำกัด |
ประวัติการฝึกอบรม
18-19 กรกฏาคม 2555 |
หลักสูตร การพัฒนาระบบการผลิตด้วยแบบจำลอง ARENA กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม |
14 กรกฏาคม 2555 |
หลักสูตร Logistics Capacity Building คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ร่วมกับ สมาคมไทยโลจิสติกส์และการผลิต ณ โรงแรมเกทเวย์ จังหวัดพะเยา |
28-22 มิถุนายน 2555 |
หลักสูตร CNC Programming for Milling, CNC Milling Machine Control และ Mould Die and Machine Tool Center (MMC) ณ สถาบันไทย-เยอรมัน |
23-25 พฤษภาคม 2555 |
หลักสูตร โครงการส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์: การพัฒนาเครื่องบินบังคับวิทยุแบบปีกหมุน (ภาคเหนือ) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ อาคารศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกประดับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ |
5-7 กรกฎาคม 2553 |
โครงการพัฒนา Logistics Clinic สำหับผู้ส่งออก สำนักโลจิสติกส์การค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ณ ห้องประชุม โรงแรมวัฒนาวิลเลจ รีสอร์ท อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก |
10-12 มิถุนายน 2553 |
หลักสูตรกลยุทธ์พัฒนาเครือข่ายและส่งเสริมศักยภาพผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ณ ห้องประชุมแม่สอดบอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแม่สอดฮิลล์รีสอร์ท อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก |
ผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ
- Pongcharoen, A. Khadwilard, A. Klakankhai. OPTIMISING LOGISTICS CHAIN NETWORK USING GENETIC ALGORITHMS. 18thInternational Conference on Production Research
- Pongcharoen, A. Khadwilard, A. Klakankhai. Multi-matrix Real-coded Genetic Algorithm for Minimising Total Costs in Logistics Chain Network.
ผลงานตีพิมพ์ในระดับชาติและการบรรยายในการประชุมวิชาการ
- อโณทัย กล้าการขาย1 สุชาติ แย้มเม่น2 วิชัย ฤกษภูริทัต3 วิโรจน์ บุญอำนวยวิทยา4 การสำรวจความเห็นผู้ประกอบการเพื่อการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศด้วยวิธีซ็อฟสำหรับเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การประชุมวิชาการ “พะเยาวิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 12-13 มกราคม 2555 ณ อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ประเทศไทย
- อโณทัย กล้าการขาย1* บรรเทิง ยานะ 2 เอกชัย แผ่นทอง 3 พงศ์วิทย์ พรมสุวรรณ 4 พรณารายณ์ สมสัตย์ 5 การเพิ่มอัตราผลผลิตแผ่นใยบวบขัดผิวธรรมชาติด้วยวิธีการศึกษาเวลา การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี พ.ศ. 2556 16-18 ตุลาคม 2556 พัทยา ชลบุรี ประเทศไทย
- พงศ์วิทย์ พรมสุวรรณ1* อโณทัย กล้าการขาย2 เอกชัย แผ่นทอง3 ปารวี ทะนันไชย 4 การวิเคราะห์และสร้างแบบจำลองต้นทุนการผลิตชาอัสสัม โดยการใช้ โปรแกรมเชิงเส้น: กรณีศึกษา วิสาหกิจกลุ่มผลิตภัณฑ์ชาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ศรีนาป่าน-ตาแวน จังหวัดน่าน ในการประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2558 (IE Network Conference 2015) ระหว่างวันที่ 6-7 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรม ดิ เอมเมอรัลด์ กรุงเทพมหานคร
รางวัลเกียรติยศ
พ.ศ. 2555 ใบประกาศเกียรติคุณเพื่อแสดงว่าได้ร่วมสร้างผลงานนวัตกรรมที่ทำให้เกิดการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็นรูปธรรม ประเภท Culture Inspiration โครงการคูปองนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่าง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์มหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี